ในการจำลองที่มีชื่อว่า Games of Life ซึ่งได้รับการคิดค้นขึ้นโดยนัก
คณิตศาสตร์ John Conway และตีพิมพ์ใน Scientific American ในปี 1970
เกมส์นี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของ cell บนตาราง 2 มิติ ตามจังหวะ
การเดินของเวลาที่เปลี่ยนไปทีละขั้น โดยมีกฏเกณท์ดังนี้คือ
========= R U L E S =======================
คณิตศาสตร์ John Conway และตีพิมพ์ใน Scientific American ในปี 1970
เกมส์นี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของ cell บนตาราง 2 มิติ ตามจังหวะ
การเดินของเวลาที่เปลี่ยนไปทีละขั้น โดยมีกฏเกณท์ดังนี้คือ
========= R U L E S =======================
- สำหรับเซลที่มีชีวิตอย่่แล้ว มีกฏการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1. ถ้าเซลนั้นมีเซลที่มีชีวิตอย่่รอบข้างเพียงหนึ่งเซลหรือไม่มีเลย เซล
นั้นจะตาย เพราะความเหงา
2. ถ้าเซลนั้นมีเซลที่มีชีวิตอื่นอย่่รอบข้างตั้งแต่ 4 เซลขึ้นไป เซลนั้นจะ
ตายเพราะประชากรมากเกินไป
3. ถ้าเซลนั้นมีเซลที่มีชีวิตอื่นอย่่รอบข้าง 2 ถึง 3 เซล เซลนั้นจะมีชีวิต
ต่อไป
- สำหรับเซลที่ว่างอยู่ มีกฏการเปลี่ยนแปลงคือ
1. ถ้ามีเซลที่มีชีวิตอยู่รอบๆมัน 3 เซล เซลที่ว่างนั้นจะกลายเป็นมีชีวิต
=========== P R O J E C T =====================
ให้สร้างโปรแกรมโดยมีข้อกำหนดดังนี้
• กำหนดให้เซลอยู่ในตารางสองมิติที่เป็นสี่เหลี่มจตุรัส โดยให้ผู้ใช้เป็นผู้
กำหนดขนาดความยาวของด้านกว้าง(หรือยาว)เป็นเท่าใดก็ได้
• ผู้ใช้ต้องสามารถกำหนดให้โปรแกรมกำหนดค่าเริ่มต้นของตารางโดยใช้
วิธีการ Randomโดยกำหนดให้ความน่าจะเป็นที่จะมีเซลที่มีชีวิตและ
เซลที่ว่างอย่่ในตารางนั้นมีค่าเท่ากัน และผู้ใช้ต้องพิมพ์ค่าของตาราง
ตามรูปแบบดังในภาพที่ 1 (ซึ่งเราจะอธิบายในข้อถัดไป) ลงสู่ไฟล์ชื่อ
RandomBoard.input
• ผู้ใช้ต้องสามารถกำหนดให้มีการอ่านค่าเริ่มต้นจากไฟล์ได้ โดยที่ไฟล์
อินพุทจะต้องมีรูปแบบดังในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นภาพแสดงค่าของเซลต่างๆ
ในตารางขนาด 4 x 4 โดยที่ X หมายถึงเซลที่มีชีวิตและ – หมาย
ถึงเซลที่ว่าง
นั้นจะตาย เพราะความเหงา
2. ถ้าเซลนั้นมีเซลที่มีชีวิตอื่นอย่่รอบข้างตั้งแต่ 4 เซลขึ้นไป เซลนั้นจะ
ตายเพราะประชากรมากเกินไป
3. ถ้าเซลนั้นมีเซลที่มีชีวิตอื่นอย่่รอบข้าง 2 ถึง 3 เซล เซลนั้นจะมีชีวิต
ต่อไป
- สำหรับเซลที่ว่างอยู่ มีกฏการเปลี่ยนแปลงคือ
1. ถ้ามีเซลที่มีชีวิตอยู่รอบๆมัน 3 เซล เซลที่ว่างนั้นจะกลายเป็นมีชีวิต
=========== P R O J E C T =====================
ให้สร้างโปรแกรมโดยมีข้อกำหนดดังนี้
• กำหนดให้เซลอยู่ในตารางสองมิติที่เป็นสี่เหลี่มจตุรัส โดยให้ผู้ใช้เป็นผู้
กำหนดขนาดความยาวของด้านกว้าง(หรือยาว)เป็นเท่าใดก็ได้
• ผู้ใช้ต้องสามารถกำหนดให้โปรแกรมกำหนดค่าเริ่มต้นของตารางโดยใช้
วิธีการ Randomโดยกำหนดให้ความน่าจะเป็นที่จะมีเซลที่มีชีวิตและ
เซลที่ว่างอย่่ในตารางนั้นมีค่าเท่ากัน และผู้ใช้ต้องพิมพ์ค่าของตาราง
ตามรูปแบบดังในภาพที่ 1 (ซึ่งเราจะอธิบายในข้อถัดไป) ลงสู่ไฟล์ชื่อ
RandomBoard.input
• ผู้ใช้ต้องสามารถกำหนดให้มีการอ่านค่าเริ่มต้นจากไฟล์ได้ โดยที่ไฟล์
อินพุทจะต้องมีรูปแบบดังในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นภาพแสดงค่าของเซลต่างๆ
ในตารางขนาด 4 x 4 โดยที่ X หมายถึงเซลที่มีชีวิตและ – หมาย
ถึงเซลที่ว่าง
ภาพที่ 1
• ผู้ใช้ต้องสามารถกำาหนดจำนวนขั้นของการเปลี่ยนแปลง(เป็นการจำลอง
เวลา)ได้ตามต้องการ
• ผู้ใช้ต้องสามารถเลือกได้ว่าจะให้โปรแกรมพิมพ์ค่าของเซลในตารางลงสู่
ไฟล์(ตามรูปแบบในภาพที่ 1)ในทุกๆขั้นของการเปลี่ยนแปลงหรือในขั้น
สุดท้ายเท่านั้น ในกรณีเขียนข้อมูลทุกขั้น ให้เขียนข้อมูลลงสู่ไฟล์
BoardImmediate.x
ถ้าเขียนข้อมูลเฉพาะรอบสุดท้ายก็ให้เขียนสู่ไฟล์ Board.output
=========== E N D P R O J E C T =================
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น